โลโก้เว็บไซต์ แนวปฏิบัติที่ดี  เรื่อง  กระบวนการกำกับติดตามแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล (IDP) | งานวิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง

แนวปฏิบัติที่ดี  เรื่อง  กระบวนการกำกับติดตามแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล (IDP)

เผยแพร่เมื่อ : พฤหัสบดี 23 มิถุนายน 2565 โดย ศรัญญา อินทร์คำเชื้อ จำนวนผู้เข้าชม 5295 คน

ยังไม่มีคะแนนสำหรับบทความนี้ ผู้อ่านสามารถให้คะแนนบทความได้จากปุ่มข้างใต้

“แผนพัฒนารายบุคคล (Indivifual  Development  Plan)” เป็นเครื่องมือที่สำคัญอย่างหนึ่งในการสนับสนุนให้การพัฒนาของบุคลากรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ  โดยเป็นการนำผลการปฏิบัติงานของบุคลากรแต่ละคน  รวมทั้งพฤติกรรมด้านสมรรถนะ ซึ่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา  ได้กำหนดสมรรถนะออกเป็น  ๓  กลุ่ม  ได้แก่  สมรรถนะหลัก (Core  Competency)   สมรรถนะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ (Functional  Competecy) และสมรรถนะทางการบริหาร (Managerial  Competency) มาพิจารณาเปรียบเทียบกับองค์ความรู้ที่จะต้องพัฒนา และระดับสมรรถนะ  จากผลการปฏิบัติงานจริงกับสิ่งที่บุคลากรจะต้องพัฒนาและปรับปรุงให้ดีขึ้น เพื่อให้บุคลากรประสบความสำเร็จในงานที่ได้รับมอบหมาย  รวมทั้งช่วยให้มีแนวทางในการวางแผนพัฒนางานของตนเอง (Career Path) โดยกำหนดวิธีการในการพัฒนา (Development  Tools) ที่เหมาะสมในการพัฒนาความรู้ความสามารถของบุคลากรนั้น  เช่น  การฝึกอบรม  การมอบหมายงาน  การสอนงาน  การเรียนรู้ด้วยตนเอง  การฝึกจากการปฏิบัติงานจริง  การแลกเปลี่ยนงาน  การศึกษาดูงาน เป็นต้น

แนวปฏิบัติที่ดี  เรื่อง  กระบวนการกำกับติดตามแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล (IDP)

 







ออกแบบและพัฒนาโดย สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา